วันเสาร์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2550

รายชื่อภาพยนตร์ไทย พ.ศ. 2542
รายชื่อภาพยนตร์ไทย ที่ออกฉายครั้งแรกใน พ.ศ. 2542

กำแพง (2542)

  • ผู้กำกับ: ถกลเกียรติ วีระวรรณ
    นำแสดงโดย: เกริกพล มัสยวาณิช, เก็จมณี พิชัยรณรงค์สงคราม, อรรถพร ธีมากร, พิศมัย วิไลศักดิ์, ไพโรจน์ ใจสิงห์, ธัญญา โสภณ
    คนจร ฯลฯ (2542)

    • ผู้กำกับ: อรรถพร ไทยหิรัญ
      นำแสดงโดย: เรย์ แมคโดนัลด์, ฉัตรชัย เปล่งพานิช, รามาวดี สิริสุขะ, สุเชาว์ พงษ์วิไล, วัชรเกียรติ บุญภักดี, เบญจวรรณ เทิดทูนกุล
      โคลนนิ่ง คนก๊อปปี้คน (2542)

      • ผู้กำกับ: ปิติ จตุรภัทร์
        นำแสดงโดย: อำพล ลำพูน, สิริยากร พุกกะเวส, เสรี วงศ์มณฑา, สุดา ชื่นบาน, วิชญ์ พิมพ์กาญจนมาศ
        ดอกไม้ในทางปืน (2542)

        • ผู้กำกับ: มานพ อุดมเดช
          นำแสดงโดย: ดอม เหมตระกูล, นุชนาฏ สายชมภู
          แตก 4 รักโลภ โกรธ เลว (2542)

          • ผู้กำกับ: องอาจ สิงห์ลำพอง
            นำแสดงโดย: สมชาย เข็มกลัด, ศรราม เทพพิทักษ์, สุทธิดา เกษมสันต์ ณ อยุธยา, ปราโมทย์ แสงศร, ขจรศักดิ์ รัตนนิสัย, ธีรพงศ์ เหลียวรักวงศ์
            นางนาก (2542)

            • ผู้กำกับ: นนทรีย์ นิมิบุตร
              นำแสดงโดย: อินทิรา เจริญปุระ, วินัย ไกรบุตร, ปราโมทย์ สุขสถิตย์, พัชริญา นาคบุญชัย, บุญส่ง อยู่ยั่งยืน, ประชา ถาวรเฟีย
              มนต์เพลงสั่งนาง (2542)
              เรื่องตลก 69 (2542)

              • ผู้กำกับ: เป็นเอก รัตนเรือง
                นำแสดงโดย: ลลิตา ปัญโญภาส, แบล็ค ผมทอง, ศิริสิน ศิริพรสมาธิกุล, ลิขิต ทองนาค, ทัศนาวลัย องอาจอิทธิชัย, สีเทา
                ล่าระเบิดเมือง (2542)

                • ผู้กำกับ: เฉลิม วงศ์พิม
                  นำแสดงโดย: ดอม เหมตระกูล, ศุภกรณ์ กิจสุวรรณ, ปีเตอร์ หลุยส์ ไมอ๊อคชิ, วรรณวลัย โปษยานนท์, ธนิสร สัตยมงคล, กฤษณ์ ศุภระมงคล
                  สวัสดีบ้านนอก (2542)

                  • ผู้กำกับ: ธนิตย์ จิตนุกูล
                    นำแสดงโดย: จตุพล ชมพูนิช, ระติพงศ์ ภูมาลี, ปริช กองจรูญ, ฉัตร รูปขจร, นิอร ละมูลภักตร์, สุปันดา ขุนศรีรอด

วันศุกร์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2550

ฉางอาน
ฉางอาน (จีน: 长安; พินอิน: Cháng'ān; อังกฤษ: Chang'an) เป็นเมืองหลวงเก่าของประเทศจีน โดยมีราชวงศ์มากกว่า 10 ราชวงศ์ที่เลือกนครฉางอานเป็นเมืองหลวง ปัจจุบันคือเมืองซีอาน ซึ่งเปลี่ยนชื่อในสมัยราชวงศ์ชิง
ชื่อ ฉางอาน มีความหมายว่า "ความสงบสุขชั่วนิรันดร์" (Perpetual Peace)

วันพฤหัสบดีที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2550

เอ็ดการ์ มอนเซอร์รัท
เอ็ดการ์ มอนเซร์รัต นักมวยสากลชาวปานามา เกิดเมื่อ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 สถิติการชก 48 ครั้ง ชนะ 30 (น็อก 18) เสมอ 3 แพ้ 15

วันพุธที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2550


พุทธศักราช 787 ใกล้เคียงกับ

เมษายน ค.ศ. 244 - มีนาคม ค.ศ. 245
มหาศักราช 166 ค.ศ. 244ค.ศ. 244 วันเกิด

วันอังคารที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2550


หัวข้อที่เกี่ยวข้อง: รายนามบุคคลสำคัญของโลกชาวไทยโดยยูเนสโก รายนามบุคคลสำคัญของไทย รายนามผู้ได้รับรางวัลโนเบล

บุคคลสำคัญของโลก วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

เรอเน เดส์การตส์ (René Descartes)
บารุค สปิโนซา (Baruch Spinoza)
จอห์น ล็อก (John Locke)
กอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม ไลบ์นิซ (Gottfried Leibniz)
จอร์จ บาร์กลีย์ (George Berkeley)
เดวิด ฮูม (David Hume)
อิมมานูเอิล คานท์ (Immanuel Kant) นักปรัชญาตะวันตก

มาร์ค ทเวน (Mark Twain)
มิเกล เด เทรบานเตส (Miguel de Cervantes)
วิลเลี่ยม เชคสเปียร์ (William Shakespeare) นักประพันธ์เพลง

เดวิด ลิฟวิงสโตน

วันจันทร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2550

เบบี้เฟสเบบี้เฟส
เบบี้เฟส หรือ เคนเน็ธ เบบี้เฟส เอ็ดมอนส์ เกิดเมื่อวันที่ 10 เมษายน ค.ศ. 1958 เป็นนักร้องนักแต่งเพลงสไตล์อาร์แอนด์บีชาวอเมริกัน ประสบความสำเร็จในช่วงยุค 90

ประวัติ
เบบี้เฟส ร่วมเปิดค่ายเพลงกับ Reid ในนาม LaFace Records มีศิลปินที่ได้รับความนิยมอย่าง โทนี แบรกซ์ตัน และ ทีแอลซี โดยโทนี แบรกซ์ตันได้รับรางวัลแกรมมี่สาขาศิลปินหน้าใหม่ยอดเยี่ยมในปี 1994 เขาได้เขียนเพลงและโปรดิวซ์เพลงที่ประสบความสำเร็จอย่างมากให้บอยซ์ ทู เม็นอย่างเพลง "End of the Road" และ "I'll Make Love To You" ที่ขึ้นอันดับ 1 บนบิลบอร์ดนาน 13 สัปดาห์และ 14 สัปดาห์ตามลำดับ และยังได้แต่งเพลงให้มาดอนน่าร้องในเพลง "Take a Bow" ขึ้นอันดับ 1 นาน 7 สัปดาห์ และได้ร่วมแต่งเพลงกับอีริค แคลปตัน เพลงรางวัลแกรมมี่เพลง "Change the World"
เขายังได้เขียนเพลงและโปรดิวซ์เพลงให้ศิลปินชื่อดังอย่าง โทนี แบรกซ์ตัน, ไมเคิล แจ็กสัน, เจเน็ท แจ็คสัน‎, วิทนีย์ ฮูสตัน, ซิสโค, ดรู ฮิลล์, เซลีน ดิออน, แมรี เจ ไบลจ์, มารายห์ แครี, วาเนสซ่า วิลเลี่ยมส์, เอ็น โวค, อีริค แคลปตัน, มาดอนน่า, อารีธา แฟรงคลิน, เคน ฮิราอิ และยังได้รับรางวัลแกรมมี่ต่อเนื่องในช่วงปี 1995-1997

วันศุกร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2550

คำร้อง
คำร้อง : แก้ว อัจฉริยะกุล


อยู่เดียวเปลี่ยวอกเอ๋ย ฉันเคยฟังเธอพร่ำ
นั่งเคียงสดชื่นล้ำ หวานคำฉ่ำทรวงใน
อกใจให้คิดถึง คนึงถึงเธอได้
ฝากคำพร่ำกันไว้ เสียวใจให้รำพึง


ยามนอนต้องถอนใจ หวงคู่ฤทัยตรึง
ความรักให้ใจใฝ่ถึง ใจหวลคนึงทุกวัน
ฝากคำพร่ำรำพึง คิดถึงตรึงตรามั่น
โอ้เธออย่าลืมฉัน ทุกวันคนึงครวญ

คนึงครวญ คำร้องภาษาอังกฤษ

คนึงครวญ (file info)เปิดฟัง

  • คำร้อง : แก้ว อัจฉริยะกุล ทำนอง : หลวงสุขุมนัยประดิษฐ์คนึงครวญ ขับร้อง : เพ็ญศรี พุ่มชูศรี

วันพฤหัสบดีที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2550

ค.ศ. 1302
พุทธศักราช 1845 ใกล้เคียงกับ

เมษายน ค.ศ. 1302 - มีนาคม ค.ศ. 1303
ค.ศ. 1302 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินจูเลียน
ค.ศ. 1303 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินจูเลียน
มหาศักราช 1224
ปีขาล จัตวาศก จุลศักราช 664 (วันที่ 28 มีนาคม เป็นวันเถลิงศก) ผู้นำ

วันพุธที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2550

พ.ศ. 1696
พุทธศักราช 1696 ใกล้เคียงกับ

เมษายน ค.ศ. 1153 - มีนาคม ค.ศ. 1154
มหาศักราช 1075 วันเกิด

วันอังคารที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2550

สุริยา รัตนกุล
ศาสตรจารย์ ดร. คุณหญิงสุริยา รัตนกุล เป็นนักภาษาศาสตร์ชั้นนำของไทยในปัจจุบัน ท่านผลิตงานวิจัยทางด้านภาษาศาสตร์ โดยศึกษาภาษาท้องถิ่นต่างๆ ในประเทศไว้เป็นจำนวนมาก ผลงานการวิจัยของท่านได้รับการยอมรับในแวดวงนักภาษาศาสตร์อย่างกว้างขวาง นอกจากนี้ ท่านยังเป็นอาจารย์ถวายพระอักษรภาษาฝรั่งเศสแด่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ในระหว่างปี พ.ศ. 2513-2521

ประวัติการศึกษา

อักษรศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) จากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปริญญาเอก จากมหาวิทยาลัยปารีส ประเทศฝรั่งเศส

วันจันทร์ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2550

ตำบลตลาดขวัญ
ตลาดขวัญ (Talat Khwan) เป็นตำบลหนึ่งที่อยู่ในเขตเทศบาลนครนนทบุรี อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ในอดีตยังเป็นชื่อชุมชนเก่าแก่ของจังหวัดนนทบุรีที่เรียกว่า บ้านตลาดขวัญ ซึ่งมีการตั้งถิ่นฐานอยู่อาศัยมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ต่อมาในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระองค์ได้ทรงยกฐานะหมู่บ้านเล็ก ๆ ที่ชื่อว่าบ้านตลาดขวัญแห่งนี้ให้มีฐานะเป็นเมืองนนทบุรีในปี พ.ศ. 2092 (ค.ศ. 1549) เพื่อประโยชน์ต่อการเกณฑ์ไพร่พลหากเกิดสงคราม รวมทั้งให้เป็นเมืองท่าและหน้าด่านทางทิศใต้ของกรุงศรีอยุธยา
ชุมชนตลาดขวัญตั้งอยู่ในริมฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศใต้ของวัดท้ายเมือง โดยมีหอทะเบียนที่ดินเก่า (บริเวณโรงเรียนเทศบาล 1) เป็นสิ่งยืนยันความเก่าแก่ของชุมชนแห่งนี้ ปัจจุบัน ท้องที่ของตำบลในอำเภอเมืองนนทบุรีที่มีชื่อว่า "ตลาดขวัญ" นั้น ไม่มีอาณาเขตติดต่อกับแม่น้ำเจ้าพระยา แต่อยู่ลึกเข้ามาตอนใน ส่วนบริเวณชุมชนบ้านตลาดขวัญอันเป็นที่ตั้งเมืองนนทบุรีโบราณนั้น ทุกวันนี้อยู่ในเขตตำบลสวนใหญ่